การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
1. ด้านการเมืองการปกครอง
ตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ต่อมาในสมัยอยุธยาเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจปกครองและบริหารราชการแผ่นดิน ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการรับอิทธิพลของชาติตะวันตกมา ใช้ตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 5 จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขโดยประชาชนมีสิทธิ์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ร่วมกันเลือก นายกรัฐมนตรี จากบรรดาสมาชิกผู้แทนราษฎร เพื่อจัดตั้งเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ
2. ด้านเศษฐกิจ ในสมัยสุโขทัยการดำเนินการทางเศษฐกิจจะเป็นลักษณะของการให้เสรีภาพประชาชนในเรื่องการค้าขาย ประกอบอาชีพ มีการยกเว้นภาษี และมีการค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้าน ต่อมาในสมัย อยุธยาเริ่มมีตัวแทนรัฐในการทำการค้ากับต่างชาติ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการติดต่อกับชาวต่างชาติ โดยการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษ ทำให้เศษฐกิจขยายตัวมากขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2475 เป็นต้นมา มีการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะเน้นการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม อ่านต่อ...http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2111
ตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ต่อมาในสมัยอยุธยาเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจปกครองและบริหารราชการแผ่นดิน ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการรับอิทธิพลของชาติตะวันตกมา ใช้ตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 5 จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขโดยประชาชนมีสิทธิ์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ร่วมกันเลือก นายกรัฐมนตรี จากบรรดาสมาชิกผู้แทนราษฎร เพื่อจัดตั้งเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ
2. ด้านเศษฐกิจ ในสมัยสุโขทัยการดำเนินการทางเศษฐกิจจะเป็นลักษณะของการให้เสรีภาพประชาชนในเรื่องการค้าขาย ประกอบอาชีพ มีการยกเว้นภาษี และมีการค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้าน ต่อมาในสมัย อยุธยาเริ่มมีตัวแทนรัฐในการทำการค้ากับต่างชาติ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการติดต่อกับชาวต่างชาติ โดยการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษ ทำให้เศษฐกิจขยายตัวมากขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2475 เป็นต้นมา มีการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะเน้นการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม อ่านต่อ...http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2111

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น